Friday, April 19, 2019

หมอรักษากระดูกทับเส้นอย่างนี้

หมอรักษากระดูกทับเส้นอย่างนี้


ส่วนใหญ่แล้ว อาการกระดูกทับเส้นจะค่อยๆ ดีขึ้น ต้ อ ง ใ ช้ เ ว ล า ฟื้ น ตั ว ป ร ะ ม า  ณ  1 - 3  เ ดื อ น  หากผู้ป่วยได้พักผ่อน ออกกำลังกาย และรับประทานยาบรรเทาอาการของโรค
วิธีรักษากระดูกทับเส้น มีอยู่ด้วยกันหลายวิธี ขึ้ น อ ยู่ กั บ  ร ะ ดั บ ค ว า ม รุ น แ ร ง ข อ ง อ  า ก า ร  และ ตำ แ ห น่ ง ที่ ห ม อ น ร อ ง ก ร ะ ดู  ก เ ค ลื่ อ น  เมื่อแพทย์ได้วินิจฉัยอาการแล้ว จะมีวิธีการรักษา ตั้งแต่เบาไปหาหนัก ดังต่อไปนี้ คือ
1. การรักษาด้วยยา ยาที่ช่วยรักษาอาการกระดูกทับเส้น ประกอบด้วย
  • ยาแก้ปวด ใช้รักษาผู้ป่วยกระดูกทับเส้น ที่มีอาการปวดหลัง เพียงเล็กน้อยถึงปานกลาง ส า ม า ร ถ ซื้ อ ย า แ ก้ ป ว ด ที่ ห า ซื้ อ รั บ ป ร ะ ท า น ไ  ด้ เ อ ง  เช่น ยาไอบูโพรเฟน หรือ ยานาพรอกเซน
  • ยาแก้ปวดชนิดเสพติด หากผู้ป่วยรับประทานยาแก้ปวดทั่วไปแล้ว อ า ก า ร ไ ม่ ทุ เ ล า ล ง  แ พ ท ย์ อ า จ สั่ ง จ่ า ย ย า แ ก้ ป ว ด ช นิ ด เ ส พ ติ ด  ให้รับประทาน ได้แก่ โคเดอีน หรือ ยาพาราเซตามอล ที่ผสมสารสังเคราะห์ออกซิโคโดน โดยแพทย์จะจ่ายยานี้ ให้ผู้ป่วยรับประทาน เป็นระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ผู้ ป่ ว ย อ า จ ไ ด้ รั บ ผ ล ข้ า ง เ คี ย ง ข อ ง ย า โดยจะมีอาการง่วง คลื่นไส้ สับสนมึนงง และ ท้องผูก
  • ยาระงับอาการปวดที่เส้นประสาท ห า ก ผู้ ป่ ว ย มี อ า ก า ร ป ว ด ร้ า ว ล ง ข า คือ รู้สึกปวดที่ขา สะโพก หรือ ก้น ซึ่งเป็นอวัยวะ ที่อยู่ตาม แนวเส้นประสาทไซอาติก แ พ ท ย์ จ ะ สั่ ง จ่ า ย ย า แ ก้ ป ว ด ที่ มี ฤ ท ธิ์ แ ร ง ขึ้ น  ได้แก่ ยาบางตัวในกลุ่มยารักษาอาการซึมเศร้า และ ยากันชัก โดยยาในกลุ่มรักษาอาการซึมเศร้า จะช่วยบรรเทา อาการปวดเส้นประสาท ให้ทุเลาลงได้ ส่วนยากันชัก ช่วยรักษาอาการปวดเส้นประสาท ที่เกี่ยวกับกระดูกทับเส้น อย่างไรก็ตาม ยาทั้งสองตัวนี้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ รั ก ษ า ผู้ ป่ ว ย ก ร ะ ดู ก ทั บ เ ส้ น ไ ด้ ทุ ก ร า ย  โดยเฉพาะ ในกรณีที่ ใช้รักษาระยะยาว ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์ เพื่อขอคำแนะนำ ในการรักษาด้วยวิธีอื่น แ ต่ ย า บ า ง ตั ว อ า จ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ข้ า ง เ คี ย ง กั บ ผู้ ป่ ว ย บ า ง ร า ย
  • ยาคลายกล้ามเนื้อ แพทย์จะสั่งจ่าย ยาคลายกล้ามเนื้อให้ ในกรณีที่ ผู้ ป่ ว ย มี อ า ก า ร ก ล้ า ม เ นื้ อ ห ด เ ก ร็ ง  โดยรับประทานยานี้ ประมาณ 2-3 วัน เพื่อรักษาอาการดังกล่าว
  • สเตียรอยด์รักษาอาการปวดจากเส้นประสาท ผู้ป่วยที่ปวดเส้นประสาทไซอาติก จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ฉี ด ส เ ตี ย ร อ ย ด์  โดยแพทย์จะฉีดสารคอร์ติโคสเตียรอยด์ เข้าไปบริเวณ หลังส่วนล่าง หรือ บริเวณเส้นประสาทไขสันหลัง ทั้งนี้ อาจมี การสแกนภาพไขสันหลัง เพื่อช่วยให้ฉีดยา ได้อย่างปลอดภัย ก า ร ฉี ด ค อ ร์ ติ โ ค ส เ ตี ย ร อ ย ด์ จ ะ ช่ ว ย ล ด อ า ก า ร อั ก เ ส บ และ อ า ก า ร ป ว ด เ ส้ น ป ร ะ ส า ท ซึ่งอาการปวด จะทุเลาลงช่วงหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ฤทธิ์ยา อาจใช้เวลาสลายตัว นานกว่านั้น และ อาจไม่ช่วย ให้ผู้ป่วยฟื้นตัว จากกระดูกทับเส้น ได้เต็มที่นัก
  • กายภาพบำบัด จะช่วยให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายได้ดีขึ้น รวมทั้งป้องกันการได้รับบาดเจ็บด้วย ผู้ ป่ ว ย ก ร ะ ดู ก ทั บ เ ส้ น ที่ อ า ก า ร ไ ม่ ดี ขึ้ น   แ พ ท ย์ มั ก แ น ะ นำ ใ ห้ ทำ ก า ย ภ า พ บำ บั ด โดยนักกายภาพบำบัดจะใช้เทคนิคที่ช่วยฟื้นฟูการทำงาน และการเคลื่อนไหวร่างกาย อย่าง ก า ร น ว ด หรือ ดั ด ข้ อ ต่ อ  รวมทั้ง แนะนำแผนการออกกำลังกาย ที่เหมาะสม แก่ผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้มากขึ้น อาการปวดทุเลาลง และป้องกันการได้รับบาดเจ็บที่หลัง
  • การผ่าตัดหมอนรองกระดูก แพทย์จะแนะนำให้ผู้ป่วยผ่าตัด หากการรักษาด้วยวิธีอื่นไม่ได้ผลและผู้ป่วยยังมีอาการชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินหรือยืนลำบาก นานมากกว่า 6 เดือน หรือไม่สามารถควบคุม การขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ ได้ โ ด ย แ พ ท ย์ จ ะ ผ่ า ตั ด  เ พื่ อ นำ ห ม อ น ร อ ง ก ร ะ ดู ก ที่ เ ค ลื่ อ น แ ล ะ ก ด ทั บ เ ส้ น ป ร ะ ส า ท อ อ ก ไ ป  ซึ่งเรียกว่า  ก า ร ผ่ า ตั ด ห ม อ น ร อ ง ก ร ะ ดู ก ซึ่งมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ในแต่ละราย โดยส่วนใหญ่ การผ่าตัดหลัง จ ะ ช่ ว ย ล ด อ า ก า ร เ จ็ บ ป ว ด ที่ ข า แ ต่ อ า จ ไ ม่ ช่ ว ย ล ด อ า ก า ร เ จ็ บ ห ลั ง เ ท่ า ไ ร นั ก  ผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานได้ตามปกติ หลังจากพักฟื้นประมาณ 2-8 สัปดาห์ ซึ่งขึ้นอยู่กับ กระบวนการผ่าตัด และประเภทของงานที่ทำ อย่างไรก็ตาม  การผ่าตัด อ า จ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ข้ า ง เ คี ย ง ไ ด้  โดยผู้ป่วย อ า จ ติ ด เ ชื้ อ  เ ส้ น ป ร ะ ส า ท ถู ก ทำ ล า ย  เ ป็ น อั ม พ า ต  เ ลื อ ด อ อ ก ม า ก  ค ว บ คุ ม ก า ร ทำ ง า น   ข อ ง ร ะ บ บ ขั บ ถ่ า ย ห นั ก เ บ า ไ ม่ ไ ด้  รวมทั้งระบบประสาทสัมผัสรับความรู้สึก ทำงานผิดปกติชั่วขณะ ผู้ป่วยควรปรึกษาศัลยแพทย์ เกี่ยวกับประสบการณ์การผ่าตัด  อัตราความสำเร็จ และโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ดังกล่าว ก่อนรับการผ่าตัด ศัลยแพทย์จะช่วยประเมินความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น และระบุระยะเวลาพักฟื้น ที่เหมาะสม ให้แก่ผู้ป่วย
2. การรักษาด้วยวิธีอื่น นอกจากวิธีที่กล่าวมาแล้ว อาการกระดูกทับเส้น ส า ม า ร ถ บ ร ร เ ท า ไ ด้ ด้ ว ย วิ ธี อื่ น  ดังนี้
  • ไคโรแพรกทิค (Chiropractic) วิธีนี้เป็นศาสตร์ใหม่ เป็นศาสตร์จัดกระดูกสันหลัง ที่ช่วยรักษาอาการปวด บริเวณหลังส่วนล่าง
  • โยคะ วิธีนี้เป็นวิธีบำบัด ที่รวมกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย การกำหนดลมหายใจ และการทำสมาธิ เข้าไว้ด้วยกัน การรักษาด้วยโยคะ จะช่วยให้ระบบการทำงานของร่างกายดีขึ้น ผู้ป่วยบางราย ที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีนี้ มักปวดหลังน้อยลง
  • การนวด ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังเรื้อรัง อาจทุเลาลง เมื่อได้รับการนวด แต่วิธีนี้จะช่วยบำบัดอาการดังกล่าวได้ ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น
  • การฝังเข็ม ช่วยลด อาการปวดหลัง และ ปวดคอเรื้อรัง

คชาบาล์ม พรีเมี่ยม - สุดยอดบาล์มทานวดรักษาปวด กระดูกทับเส้น ปวดข้อ ปวดเข่า ปวดหลัง ปวดเอว ปวดต้นคอ มือเท้าชา

นิ้วล็อค

No comments:

Post a Comment